เม็กซิโก

เม็กซิโก

วันที่นำเข้าข้อมูล 21 เม.ย. 2563

วันที่ปรับปรุงข้อมูล 29 พ.ย. 2565

| 4,234 view

สหรัฐเม็กซิโก (United Mexican States)

ข้อมูลทั่วไปความร่วมมือเพื่อการพัฒนา

ความตกลง (Agreement)

บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือทางวิชาการ ไทย – เม็กซิโก ลงนาม เมื่อ ๒๘ มิ.ย. ๒๕๖๑       

(ลงนามใน Political Consultations ไทย – เม็กซิโก ครั้งที่ 3 )


กรอบแผนงาน (Framework)

แผนงานความร่วมมือฯ ไทย – เม็กซิโก ระยะ 3 ปี
(ค.ศ. 2019 – 2021)

 

วิธีการดำเนินงานความร่วมมือ (Modality)

1) ความร่วมมือทวิภาคี (Bilateral) *

2) ความร่วมมือภายใต้กรอบ FEALAC

3) ความร่วมมือภายใต้ทุนฝึกอบรมนานาชาติ (AITC)

รูปแบบความร่วมมือ (Form)

๑) โครงการความร่วมมือฯ  2) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (ทุนฝึกอบรมAITC/ทุนศึกษาTIPP) 3) ผู้เชี่ยวชาญ (แลกเปลี่ยน)

สถานะการดำเนินความร่วมมือเพื่อการพัฒนา

ความร่วมมือ

รายละเอียด

1) ทวิภาคี

      - จากผลการประชุม Political Consultations ไทย – เม็กซิโก ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ ๒๘ มิ.ย. ๒๕๖๑ ณ กรุงเม็กซิโก ทั้งสองฝ่ายเห็นชอบในการจัดทำแผนงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ไทย – เม็กซิโก ระยะ ๓ ปี (๒๕๖๑ - ๒๕๖๓) ประกอบด้วย สาขาการท่องเที่ยว ความมั่นคงทางอาหาร สาธารณสุข และสิ่งแวดล้อม โดยหลังการประชุมดังกล่าว ทั้งสองฝ่ายได้ร่วมลงนามใน MOU ว่าด้วยความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง ไทย - เม็กซิโก ๓ ภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ไทย และสเปน โดย น.ส.รมณี คณานุรักษ์ ออท. ณ กรุงเม็กซิโก เป็นผู้ลงนามฝ่ายไทย และ H.E. Ambassador Agustin Garcia-Lopez Loareza อธ. AMEXCID เป็นผู้ลงนามฝ่ายเม็กซิโก

.

ข้อมูลเพิ่มเติม หลังการเลือกตั้งภายในของเม็กซิโกเมื่อเดือนสิงหาคม 2561 ฝ่ายเม็กซิโก ได้ชะลอ                  ความร่วมมือทางวิชาการออกไป โดยไม่มีการตอบกลับโครงการที่ฝ่ายไทยที่เสนอระหว่างการประชุม Political Consultations ไทย – เม็กซิโก ครั้งที่ 3  เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาล อย่างไรก็ดี เมื่อวันที่ 24 พ.ย. 2562 ผู้แทน สอท.เม็กซิโก/ปทท. ได้เข้าพบหารือกับ จนท. ส่วนให้ฯ 2  และกรมอเมริกาฯ ที่กรมความร่วมมือฯ โดยได้ร่างแผนงาน ครม.ร่วมกัน (รายละเอียดตามเอกสารแนบ)

 

2) ภายใต้เวทีความร่วมมือระหว่างเอเชียตะวันออกและลาตินอเมริกา (Forum for East Asia – Latin America Cooperation – FEALAC)

     - สำหรับปี 2563 ประเทศไทยได้สนับสนุนหลักสูตรการฝึกอบรมประจำปี (AITC) โดยให้ priority แก่กลุ่มประเทศสมาชิก FEALAC 4 หลักสูตร ประกอบด้วย

 

       1) Modern Technology for Sustainable Agricultural Systems (MoTSAS)

       2) Sustainable Community-based Eco-tourism Development

       3) Sufficiency Economy in Microfinance for SMEs Development

       4) Disaster Risk Management in Thailand

 

     - นอกจากนี้ ประเทศไทยได้แจ้งต่อที่ประชุม FEALAC FMM (ระดับ รมว.กต.) ครั้งที่ 9 ณ สาธารณรัฐโดมินิกัน เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2562 ว่ากรมความร่วมมือฯ (TICA) ยินดีที่จะจัดหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้น (10 – 14 วัน) ในหัวข้อ Sustainable Micro, small and medium-sized enterprises (MSMEs) ในรูปแบบ cost - sharing ให้กับประเทศสมาชิก FEALAC ในปี 2563 และปี 2564

 

 

* ความร่วมมือทวิภาคีกับกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาเป็น South – South Cooperation เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ในสาขาที่ไทยและประเทศคู่ร่วมมือมีศักยภาพ โดยทั้งสองฝ่ายตกลงรับผิดชอบค่าใช้จ่ายร่วมกันในการดำเนินกิจกรรมในลักษณะ Cost – Sharing โดยประเทศเจ้าภาพรับผิดชอบ Local cost และประเทศผู้ส่งรับผิดชอบ International cost

 

3) ความร่วมมือภายใต้ทุนฝึกอบรมนานาชาติประจำปี (AITC)

 

หลักสูตร

2015

2016

2017

2018

2019

From Sufficiency Economy to Wealthiness of the Nation,

1

4

 

 

 

2

Sufficiency Economy: Learning Organic Agriculture by Doing,

 

1

 

 

 

3

Modern Technology for Sustainable Agricultural Systems

2

 

 

 

 

4

Food Security Postharvest, Processing and Quality Assurance of Selected Agro-Industrial Products

1

 

 

 

 

5

Antimicrobial Resistance and Foodborne Diseases Associated with Livestock: Mechanisms, Diagnosis and Control

 

 

 

 

 

6

Global Warming Mitigation and Adaption by Balancing Sustainable Energy Management (GSEM)

1

 

 

 

 

7

Food Security Postharvest, Processing and Quality Assurance of Selected Agro-Industrial Products

1

1

 

 

 

8

Household Food Security for Nutrition Well-being

1

 

 

 

 

9

Community Health Management and Empowerment to Promote Healthy Communities

1

 

 

 

 

10

Universal Health Coverage

1

 

 

 

 

11

Tropical Community Health Care and Research

 

1

 

 

 

12

Grassroots Economic Development following Sufficiency Economy Philosophy

 

1

 

 

 

13

Train the Trainer: Food Safety Management

 

 

1

 

 

14

Comprehensive Care Management for Pediatric and Adolescent Living with HIV/AIDS

 

 

1

 

1

15

Sustainable Community-based Ecotourism Development

 

 

1

 

 

16

Management of Antiretroviral Treatment and Long-Term Adherence to ART

 

 

1

 

2

๑7

Towards One Health Approach to Antimicrobial Resistance

 

 

1

 

 

18

Global Warming Mitigation and Adaptation by Balancing Sustainable Energy Management

 

 

1

 

 

19

Diversified Farming Practices Using Participatory Approach for Food Security and Safety

 

 

1

 

 

20

Best Available Technique(BAT) and Best Environmental Practice (BEP) under the Context of United

 

 

1

 

 

21

Natural Disasters Management

 

 

 

1

 

22

Sustainable Animal Production and Resource Management for Sustainable Agriculture and Food Safety

 

 

 

1

 

23

The Integration of Sufficiency Economy for Empowerment on Mobilizing Sustainable Development 2018

 

 

 

1

 

24

Modern Technology for Sustainable Agricultural Systems (MoTSAS)

 

 

 

1

 

25

Community Health Volunteer as Agents of Health Promotion of Health Promotion and Disease Prevention: How to Strengthen Their Abilities

 

 

 

1

 

26

Promoting Livelihood and Food Security through Diversified Farming Practices using integrated System and Participatory Approaches

 

 

 

1

 

27

Green Freight and Logistics Development

 

 

 

 

1

28

Forest-based Ecotourism Management

 

 

 

 

1

29

Waste Management and Wastewater Treatment for Sustainability

 

 

 

 

1

 

รวมทั้งสิ้น 37 ราย ในรอบ 5 ปี

9

8

8

6

6

 

 

สถานะ ณ วันที่ วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๖๓

 

ส่วนให้ความร่วมมือกับต่างประเทศ ๒

กรมความร่วมมือระหว่างประเทศ

กระทรวงการต่างประเทศ